• 12 จุด ควรระวัง!! ความแตกต่างระหว่างหลักการบัญชีกับภาษีอากร • การตรวจสอบรายได้-รายจ่าย ที่ต้องระวังเป็นพิเศษ และการเตรียมความเอกสาร, รายงาน ที่อาจถูกตรวจสอบ • หลักสูตรที่สอนเทคนิคการทำงานบัญชี-ภาษีแบบ Working&checking เพื่อลดปัญหาและ ข้อผิดพลาด
วิทยากรโดย อาจารย์สุเทพ พงษ์พิทักษ์
หัวข้อสัมมนา
1. การทํางานแบบ Working & Checking เพื่อลดปัญหาและข้อผิดพลาด
2. เตรียมความพร้อมเอกสารและรายงานที่อาจถูกตรวจสอบ • งบการเงิน • ภ.ง.ด.50, ภ.พ.30 • รายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม • รายงานบัญชีและการเงินที่กระทบงบการเงิน • จุดบ่งชี้ความผิดปกติของงบการเงิน
3. รายละเอียดประกอบงบการเงินที่ต้องระมัดระวัง • ทะเบียนทรัพย์สิน • รายงานสินค้าและวัตถุดิบ • รายละเอียดลูกหนี้, เจ้าหนี้ • รายได้-รายจ่าย
4. การตรวจสอบรายได้-รายจ่ายที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ • รายได้ค้างรับ • เงินรับล่วงหน้า • ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย • จ่ายล่วงหน้า • รายได้-รายจ่ายล่วงหน้าหรือข้ามรอบระยะเวลาบัญชีเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกับภาษีมูลค่าเพิ่ม อย่างไรให้ถูกต้อง • รายละเอียดเช็ครับ-จ่าย • เอกสารแนบรายได้-รายจ่าย
5. การกระทบยอดบัญชี กับ Bank Statement ที่มักเป็นประเด็นถูกประเมิน
6. งบกระทบยอดบัญชีพิเศษ ภาษีหัก ณ ที่จ่ายและการนําส่งภาษี • ภ.ง.ด.1, 1ก • ภ.ง.ด.3 • ภ.ง.ด.53 • ภ.ง.ด.54 • ภ.พ.36 • บัญชีพิเศษอื่น
7. การจ่ายค่าที่ปรึกษา, ค่าการบริหารจัดการ ค่าตอบแทนกรรมการ กับจุดตรวจสอบ • การคํานวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย • ประเภทของเงินได้พึงประเมิน • ภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม • เอกสารประกอบการจ่ายเงิน
8. การประมาณการกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีกลางปีและผลกระทบในช่วงสิ้นปี • ทําอย่างไรจะห่างไกลเงินเพิ่ม 20% • เทคนิคการแก้ไขเมื่อประมาณการขาด
9. การคํานวณภาษีนิติบุคคลและการบวกกลับทางภาษี • ประเด็นที่ต้องระมัดระวังในการบวกกลับ • จุดตรวจสอบความผิดพลาดในการบวกกลับ • รายจ่ายที่สรรพากรมักให้บวกกลับ
10. 12 จุด ควรระวังความแตกต่างระหว่างหลักการบัญชีกับภาษีอากร • รายได้ที่ปรากฎทางบัญชี แต่ไม่ได้นํามาเสียภาษี • รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ • รายได้เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไร • รายได้จากการขายทรัพย์สิน • การรับรู้รายได้ตามราคาตลาดกรณีการโอนทรัพย์สินหรือสินค้า การให้บริการและการให้กู้ยืมเงิน • การหักค่าเสื่อมค่าสึกหรอราคาทรัพย์สิน • การตีราคาสินค้าคงเหลือ และกรณีสินค้าชํารุด เสียหายและสูญหาย • ทรัพย์สิน หนี้สินและทุน (Asset, Liabilities, & Capital) • ค่ารับรองหรือค่าบริการและรายจ่ายต้องห้าม • รายจ่ายที่เกี่ยวกับรถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน • การตีราคาทรัพย์สิน • หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ • การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ • การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ ควบกิจการ หรือโอนกิจการ
11. ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ ตามภ.พ.30 ที่ Cross Check แล้วไม่ตรงกัน
เงื่อนไขการเข้าอบรม 1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User 2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที 3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน 4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม 5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม
หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี ** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **
|