1. จิตวิทยาในการสรรหาบุคลากร
1.1 การใช้หลักการของแบบวัดบุคลิกภาพ MBTI Test
1.2 การใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบ Target Selections
1.3 การใช้เทคนิคการจับพิรุธจากภาษากายเพื่อจับโกหก หรือพิสูจน์ความเป็นตัวตน
2. จิตวิทยาในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
2.1 หลักการได้ใจบุคลากร - แผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan – IDP)
2.2 การฝึกงานภาคสนาม (On the Job Training – OJT) ด้วยแนวคิดเชิงจิตวิทยา 4P - Protection (ปลอดภัยจากการทำงาน) - Performance (สามารถทำงานได้เองโดยลำพัง) - Professional (เชี่ยวชาญแบบมืออาชีพ) - President (ก้าวขึ้นเป็นแนวหน้า)
2.3 การสอนและปลุกกำลังใจ (Coaching & Igniting) ด้วยกระบวนการ G-R-O-O-M Model - Goal: What do you want? (อะไรคือสิ่งที่คุณต้องการ?) - Reality: Where are you now? (ขณะนี้คุณอยู่ที่ไหน?) - Obstacle: What are your barriers? (อะไรคือสิ่งกีดขวางคุณอยู่?) - Options: What could you do? (อะไรคือสิ่งที่คุณควรทำ?) - Main thing: What is a main thing to do? (อะไรคือสิ่งสำคัญที่คุณต้องทำ?)
3. จิตวิทยาในการบริหารผลการปฏิบัติงานด้วยกระบวนการ Group Dynamic เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยหลักการ 5 ส. - สุมหัว: การประชุมระดมสมองกำหนดเกณฑ์ในการเพิ่มผลงานของพนักงาน - สอดส่อง: การติดตามว่าอะไรเป็นอุปสรรค และอะไรเป็นตัวส่งเสริมการปฏิบัติงานของพนักงาน - สอบวัด: ทดสอบประเมินผลงานว่าเกณฑ์ที่กำหนดนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม่ - ส่งใจ: การสนับสนุนพนักงานในด้านต่าง ๆ - สอยเป้า: ให้ความสำคัญในความสำเร็จของบุคลากร
4. จิตวิทยาในการบริหารค่าตอบแทนโดยการใช้เทคนิค FBI เพื่อจูงใจ - Focus Group: เพื่อให้ได้ความต้องการในเรื่องค่าตอบแทนที่เจาะเฉพาะกลุ่ม - Benefits & Compensation Survey: สำรวจการจ่ายผลประโยชน์และค่าตอบแทนในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน - Ideas of New Trend in Benefits & Compensation: การเปิดกว้างในการรับข้อมูลและแนวคิดใหม่ ๆ ในการจ่ายและบริหารค่าตอบแทนให้เหมาะกับปัจจุบัน
5. ถาม/ตอบประเด็นปัญหาเกี่ยวกับจิตวิทยาในการบริหารทรัพยากรบุคคล
|